The best Side of ขุนพันธ์

อ.หลวงอดุล อดุลเดชจรัส’ และต่อมาคือ ‘พล.อ.เผ่า ศรียานนท์’ เป็นอธิบดีกรมตำรวจ ภายใต้ยุคที่มีคติว่า “ภายใต้ดวงอาทิตย์นี้ไม่มีอะไรที่ตำรวจไทยทำไม่ได้”

ในภาคนี้อาคมติดตัวของขุนพันธ์ได้เสื่อมลงอันเป็นจุดจบแห่งความหนังเหนียว ที่น่าสนใจคือเนื้อเรื่องหลักส่วนนี้ยังอุปมาความเสื่อมที่ขุนพันธ์สัมผัสได้จากเลือดเนื้อของตนเองไปถึงเครื่องแบบตำรวจ จากที่เคยเชื่อว่าตนเองเป็นความยุติธรรมปราบเสือ สู่การมองเห็นตนเองในฐานะ เครื่องจักรสังหาร ที่อนุมัติใบสั่งฆ่าโดยรัฐอย่างถูกกฎหมาย หนำซ้ำยังช่วยระบบกดขี่การเรียกร้องประชาชนอย่างไม่ได้ตั้งใจ พอรู้ความจริงอีกแบบจึงกระทบต่อศรัทธาในเครื่องแบบของตน เครื่องแบบในฐานะความเชื่อของขุนพันธ์จึงเสื่อมไปด้วย จนไปถึงขุนพันธ์หันกลับไปถือสัจจะข้างโจรพิทักษ์ชุมเสือจากกำลังส่วนกลาง ความเสื่อมทั้งร่างกายและความเชื่อของขุนพันธ์ได้สรุปในภาพยนตร์จนถึงฉากสุดท้ายที่ขุนพันธ์เองกำลังจะเดินไปหาเสียงปืนปริศนาด้วยชุดธรรมดาไม่มีเครื่องแบบตำรวจอีกต่อไป รวมถึงเขาเองก็ไม่มีอาคมคงกระพันอีกต่อไปเช่นกัน

..นั่นแหละขุนพันธ์ฯ" พอได้ยินชื่อขุนพันธ์ฯเท่านั้น ป้าพล้อยแกเงียบเป็นเป่าสาก รีบก้มหน้างุดๆ เดินมุดผู้คนหนีไปโดยไม่เหลียวหลังมาอีกเลย คำบอกเล่าสั้นๆนี้ทำให้เห็นว่า ขุนพันธ์ฯ ท่านมีตบะสูง เพียงได้ยินว่าเป็นขุนพันธ์เท่านั้น ใคร ๆ ก็ขยาดทั้งนั้น เพราะรู้กิตติศัพท์ของท่านมาก่อน

โจรที่ได้รับสมญาว่า ‘เสือ’ นั้นมักจะได้รับความนิยมชมชอบ เพราะผลจากความล้มเหลวในการปฏิรูปภายใต้ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช ทำให้ข้าราชการไม่เป็นที่เชื่อถือในสายตาของราษฎร อีกทั้งข้าราชการยังเป็นกลุ่มอำนาจใหม่ที่เพิ่งเกิดหลังการปฏิรูปได้ไม่นาน  

สมาคมผู้กำกับภาพยนตร์ไทย ระบุว่า ในฐานะคนทำหนัง ขอแสดงจุดยืนในการปกป้องผู้กำกับภาพยนตร์และคนทำงานที่ "ควรได้รับโอกาสในการเผยแพร่ผลงานอย่างเป็นธรรม" โดยขอให้สมาพันธ์สมาคมภาพยนตร์แห่งชาติเร่งแก้ไขปัญหา เข้ามาเป็นตัวกลางในการเจรจาต่อรองหรือจัดสรรรอบฉายของภาพยนตร์ไทยให้เกิดความเป็นธรรม และเป็นไปเพื่อนำเสนอภาพยนตร์ไทยคุณภาพออกสู่สายตาผู้ชม สร้างความหลากหลายในการชมภาพยนตร์

 ถ้าไม่ใช่ check here ‘โจรปราบได้ แต่เสือปราบไม่ได้’ อย่างที่ผู้เขียนตั้งประเด็นหัวข้อไว้ข้างต้น  

‘พลตำรวจตรี ขุนพันธรักษ์ราชเดช’ (บุตร พันธรักษ์) หรือที่รู้จักกันในชื่อสั้นๆ ว่า ‘ขุนพันธ์’  เป็นตำรวจที่ค่อนข้างแปลกเมื่อมองจากปัจจุบัน เพราะเป็นตำรวจสายมูแบบจัดหนักจัดเต็ม จนมีสมญาว่า ‘จอมขมังเวทย์’ ทั้งๆ ที่ตำรวจถือเป็นหน่วยงานราชการสมัยใหม่ ถูกจัดตั้งขึ้นเพื่ออำนวยความสงบสุขแก่ประชาชนตามหลักศาสตร์ความรู้สมัยใหม่ แต่ก็เช่นเดียวกับอีกหลายต่อหลายเรื่องของสังคมไทยๆ ที่เมื่อเข้าไปดูเนื้อหาสาระแล้ว เราก็มักจะพบความไม่สมัยใหม่หรือ ‘ไม่เดิร์นเอาซะเลย’ (อยู่ตลอดเว)

ใน วิกิพีเดีย ลิงก์ข้ามไปยังรุ่นภาษาอื่นของบทความนี้ถูกย้ายไปด้านบนแล้วที่ทางขวาของชื่อหน้า ไปด้านบน

จาก ‘ขบถผู้มีบุญ’ ถึง ‘โจรพันธุ์เสือ’

ศุทธสิทธิ์ พจน์ฐศักดิ์ รับบทเป็น พลเผือก

 เหตุใดคนใต้จึงไปยกย่องคนที่ไปฆ่าพี่น้องของตนเองถึงในถิ่นของพวกเขาเช่นนั้น ไม่ใช่ประเด็นสำหรับในที่นี้    

บทความที่เนื้อหาบางส่วนรอเพิ่มเติม

สำหรับภาพยนตร์โดย ก้องเกียรติ โขมศิริ ดูที่ ขุนพันธ์

ทว่าหลังจากเสียชีวิตไป เสือผ่อนกลับกลายเป็น ‘ชาติเสือไว้ลาย’ ที่แท้ทรู  เพราะประชาชนในแถบชายฝั่งทะเลตั้งแต่ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด ต่างก็ได้แต่ง ‘ลำตัดเสือผ่อน’ ออกมาหลายเวอร์ชั่น บอกเล่าเรื่องราวของเสือผ่อนในฐานะวีรบุรุษผู้ซึ่งครั้งหนึ่งเคยท้าทายอำนาจรัฐและยืนยันสิทธิดั้งเดิมของคนท้องถิ่นที่มีต่อทะเลในย่านตะวันออก (ดูเนื้อหาของ ‘ลำตัดเสือผ่อน’  ในงานของอภิลักษณ์ เกษมผลกูล ที่อ้างอิงไว้ท้ายบทความ)

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *